Page 24 - CHIA-ตือโละปาตานี
P. 24

22                                                                                                                                                                                                                  23






                         ซึ่งอาหารทะเลที่ได้จากตือโละปาตานี นอกจากกินในครัวเรือนแล้ว ยังแบ่งปันให้ญาติ                                              โดยปกติแล้วชาวประมงพื้นบ้านไม่ได้ออกหาปลาทุกวันขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ และส่วนใหญ่

                    ขายให้กับแพปลาในหมู่บ้าน ขายที่ตลาดนัดทั้งเป็นอาหารสดและแปรรูป เช่น ปลาแห้ง กุ้งแห้ง กะปิ                                 ไม่ได้ทำาประมงเพียงอย่างเดียว แต่มักจะทำาการเกษตรควบคู่กันไปด้วย ดังเช่น
                    ฯลฯ ขายที่สะพานปลา ส่งขายให้กับโรงงานแปรรูปอาหารในนิคมอุตสาหกรรม ส่งตลาดมหาชัย                                                  เจะกา เคี้ยนหิ้น หรือบังนุ ชาวประมง พื้นเพเดิมเป็นคนนครศรีธรรมราช
                    ตลาดในกรุงเทพฯ นอกจากนี้ยังมีพ่อค้าจากมาเลเซียมารับซื้อ และส่งออกต่างประเทศ อาทิ                                          แต่งงานกับสาวเทพาจึงลงหลักปักฐานสร้างบ้านอยู่แถวปากน้ำาเทพา ทั้งสองเป็น

                    อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น บังคลาเทศ เป็นต้น การทำาประมงในตือโละปาตานี แบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่                             คนขยันช่วยกันทำามาหากิน บังนุหาปลาส่วนภรรยาเป็นคนเอาไปขาย ทั้งส่งลูกค้า

                         • ไม่มีเรือแต่มีเครื่องมือประมงในการจับสัตว์น้ำารวมถึงการจับปลาด้วยมือเปล่า                                          ประจำาที่สงขลา หาดใหญ่ สวนกง ขายให้กับแพปลาในหมู่บ้านและนำาไปขายเองที่

                         • เรือชนิดไม่มีเครื่องยนต์ หรือเรือพาย                                                                               ตลาดนัด บังนุมีความรู้เรื่องทะเลและมีฝีมือในการออกเรือหาปลาในระดับเซียน
                                                                                                                                              นอกจากหาปลา รุนเคยที่หน้าหาดปากน้ำาเทพาเพื่อนำามาทำากะปิขายแล้ว ในช่วง
                         • เรือที่มีเครื่องยนต์ขนาดเล็ก หรือเรือประมงพื้นบ้าน ซึ่งหากินในอ่าวนี้ทั้งที่จดทะเบียนและ                           ที่ออกเรือไม่ได้ ยังปลูกแตงโม ฟักทอง ข้าวโพด ขายเป็นรายได้เสริมอีก

                           ไม่จดทะเบียนรวมกันมีมากกว่า 5,000 ลำา
                                                                                                                                                     “สำาหรับคนท่ากำาชำา นอกเหนือจากการทำาประมงเป็นอาชีพหลักแล้ว เรายัง
                         • เรือขนาดใหญ่ หรือประมงพาณิชย์ มีจำานวนมากกว่าพันลำา ซึ่งมาจากจังหวัดนครศรีธรรมราช                                  ทำาสวนมะพร้าว ปลูกผัก แตงกวา ถั่วฝักยาว ข้าวโพด หมุนเวียนไป โดยแตงโมเรา
                           นราธิวาส สุราษฎร์ธานี ระยอง เพชรบุรี สงขลา และปัตตานี
                                                                                                                                              จะปลูกปีละ 1 ครั้ง ส่วนข้าวก็จะทำานาปีละครั้ง ปลูกข้าวไว้กินเอง เขาบอกกันว่า
                                                                                                                                              คนปัตตานียากจนที่สุด แต่จริงๆ คนบ้านเราไม่มีเงินก็อยู่ได้ คนไม่มีที่ดิน ก็ไม่เป็นไร


                                             ตัวอย่างสัตว์น้ำา ที่พบในตือโละปาตานี                                                            ขอให้ขยัน เขาก็สามารถขอใช้ที่ปลูกผักได้โดยไม่ต้องเสียค่าเช่า แลกกับการดูแล  © มนทกานต์ ฉิมมามี
                                     ในทะเล                               ชายหาด          ลำาคลองในป่าชายเลน                                  มะพร้าวให้เรา หรือจะเก็บยอดมะม่วงหิมพานต์ หรือผักหวานป่าที่ขึ้นอยู่ในที่เรา
               ปลาหลังเขียว ปลาทู ปลาอินทรีย์ ปลาจาระเม็ด ปลาเต๋าเต้ย  หอยเสียบ หอยตาควาย  ปลาตีน ปลากะพง                                     ไปกินหรือไปขายก็ได้ หรือจะทำาประมงจับกุ้งหอย ปู ปลาไปขาย

               ปลาโคบ ปลากระบอก ปลาดุกทะเล ปลาสาก ปลาช่อนทะเล  หอยแครง กุ้งเคย            ปลาดุกทะเล ปลาเกด
               ปลาโฉมงาม ปลาขมิ้นปลาสลิดทะเล ปลาข้างเหลือง          กุ้งหลายสายพันธุ์     ปูดำา ปูม้า กุ้ง กุลา
               ปลาจูเป๊าะ ปลากระตัก ปลาเก๋า ปลาโอ ปลาจวด ปลาอังจอ  หอยแมลงภู่ หอยคราง  ปลากระบอก ปลาซา
               ปลาขี้ตัง ปลาหมก ปลาใบไผ่ ปลาทูเตี้ย ปลาบาง ปลาเดือน  หอยขี้ผึ้ง หอยนางรม   ปลาทราย ปลาสลิด

               (ปลาใบมีดโกน) ปลาน้ำาดอกไม้ ปลาหลังเตี้ย ปลาหัวอ่อน   ปลากระบอก ปลาซา      ปลาขี้ตัง ปลาแป้น
               ปลานวลจันทร์ ปลาสะลา ปลาอังกุลี ปลากล้วย ปลาหัวโบ้ง  ปูดำา แมงดาทะเล       ปลาแม่หอมนาค
               ปลากะพง ปลากระเบน ฉลาม ปลาหมึก (หมึกสาย หมึกกล้วย                          ปลาจุดดำา ปลาหมอเทศ
               หมึกหอม หมึกกระดอง) กุ้ง (กุ้งแชบ๊วย กุ้งกุลา กุ้งก้ามกราม                 หอยนางรม หอยตีเบ้ง

               กุ้งหัวมัน กุ้งหวายแดง กุ้งมังกร) กระเบนนก ปู (ปูดำา ปูม้า)                ปลาหมอ ปลาหางเสี้ยว
               ปลายอดมะม่วง (ลิ้นหมา) ปลาพลก ปลาหม้อแตก (ปลาตาเดียว)                      หอยโลกัน กุ้งก้ามกราม
               ปลาโทงเทง/ปลาโทงเทงนักซิ่ง ปลาข้างเหยียบ ปลาหางแข็ง                        กุ้งขาว ปูลม ปูเปี้ยว
               ปลาตาโต ปลาใบปอ ปลาสร้อย ปลานกแก้ว ปลามูโด๊ะ

               ปลาแดงตาดำา ปลาทราย ปลาซา ปลาแดงเกล็ดเนียน
               ปลาแดงทราย ปลาโวยวาย ปลาแป้น กั้ง โลมา ฉลามวาฬ
               ม้าน้ำา แมงดาทะเล เต่าทะเล กระเบนราหู กุ้งกระดาน ปลามาว
               ปลาแมว ปลากือรอง ปลาเหล็กโคน ปลาสร้อยนกเขา

               ปลาจองเมือง ปลาบากพร้า ปลาดาบเงิน ปลากะพงแดงหิน
               แมงกะพรุน







                                                                   © จันทร์กลาง กันทอง/กรีนพีซ                                                                                          © จันทร์กลาง กันทอง/กรีนพีซ
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29