Page 9 - ผลการศึกษารัฐธรรมนูญกับธรรมนูญสุขภาพ
P. 9
ภายใตกรอบความคิดเรื่อง“สุขภาพ”หรือ“สุขภาวะ”โดยมีภาคประชาสังคมเขารวมในการพัฒนาการ
คุมครองสิทธิตามกฎหมายใหมีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น
(๓) เรื่องการคุมครองสุขภาพจากมลภาวะสิ่งแวดลอม โดยปกติรัฐ ตองสรางสภาพแวดลอมที่
เอื้อตอสุขภาพที่ดี ซึ่งหมายถึงสภาพแวดลอมที่ปลอดภัย เอื้ออํานวยตอการดําเนินชีวิต รัฐธรรมนูญฯ
(ฉบับที่ผานประชามติ) มาตรา ๕๖ จึงไดกําหนดให “รัฐพึงตองจัดหรือดําเนินการใหมีสาธารณูปโภคขั้น
พื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของประชาชนอยางทั่วถึงตามหลักการพัฒนาอยางยั่งยืน” แตอีกดาน
หนึ่ง ปจจัยที่คุกคามสุขภาพ (Health Threats) ซึ่งหมายถึง ปจจัยภายนอกที่เพิ่มโอกาสของการเกิดโรค
และผลกระทบตอสุขภาพ ซึ่งอาจกอใหเกิดผลกระทบไดทั้งทางตรงและทางออม เชน การมีมลพิษใน
1
สิ่งแวดลอมสูง ภาวะโลกรอน อันเปนตนเหตุแหงปจจัยที่คุกคามตอสุขภาพชุมชน ซึ่งการควบคุมปจจัย
0
ดังกลาว โดยหลัก รัฐจะใชมาตรการดานกฎหมายเปนเครื่องมือในการควบคุม มีทั้งมาตรการการแจง/การ
อนุญาตกอนประกอบการ การตรวจตราขอปฏิบัติในระหวางประกอบการจะตองไมกอมลภาวะ การใช
อํานาจทางปกครองในการสั่งการบังคับใชกฎหมาย จึงเปนเรื่องที่กระทรวง ทบวง กรม และองคกร
ปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งเปนหนวยงานของรัฐที่จะควบคุมตามกฎหมายที่แตละสวนที่มีอํานาจกํากับดูแล
อยู เชน พรบ.โรงงาน พ.ศ.๒๕๓๕ พรบ.วัตถุอันตราย พ.ศ.๒๕๓๕ โดยกระทรวงอุตสาหกรรม พรบ.ความ
ปลอดภัย
อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน พ.ศ.๒๕๕๔ พรบ.คุมครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๕๑ โดย
กระทรวงแรงงาน พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕ พรบ.รักษาความสะอาดและควมเปนระเบียบ
เรียบรอยของบานเมือง พ.ศ.๒๕๓๕ พรบ.ผังเมือง พ.ศ.๒๕๑๘ พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒ โดย
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข และองคกรปกครองสวนทองถิ่น พรบ.สงเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.๒๕๓๕ โดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนตน
ดังนั้น ทุกกระทรวง ทบวง กรม และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ดานหนึ่ง มีภารกิจในการ
จัดสาธารณูปโภค สาธารณูปการ สถานสาธารณะ เพื่อเอื้อตอสุขภาพที่ดีของชุมชน อีกดานหนึ่ง เปน
พนักงานเจาหนาที่ที่มีอํานาจในการควบคุมดูแลกิจการ/สถานประกิจการทั้งหลาย มิใหกอมลภาวะ จึง
เปนภาคีเครือขายพันธมิตร ที่ คสช.พึงตองรวมมือโดยเชิญใหเขารวมในเวทีสมัชชาสุขภาพทั้งในระดับชาติ
หรือ เฉพาะประเด็นหรือพื้นที่ แลวแตกรณี ทั้งนี้ใหใชหลักเกณฑ และวิธีการในกระบวนการประเมินผล
กระทบตอสุขภาพ เปนเครื่องมือในการบูรณาการสรางความรวมมือระหวางกันภายใตกรอบความคิดเรื่อง
“สุขภาพ”หรือ“สุขภาวะ”และ “ทุกนโยบายหวงใยสุขภาพ” โดยตองสงเสริมใหภาคประชาสังคมเขารวม
ในการพัฒนาการมาตรฐาน กฎเกณฑตามกฎหมาย ที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลยิ่งขึ้น
(๔) เรื่อง การคุมครองสิทธิผูบริโภค เปนการใหสิทธิในการรวมกันจัดตั้งเปนองคกรที่มีความ
เปนอิสระเพื่อใหเกิดพลังในการคุมครองและพิทักษสิทธิของผูบริโภค โดยไดรับการ สนับสนุนจากรัฐทั้งนี้
ตามที่กฎหมายบัญญัติ (มาตรา ๔๖) โดยรัฐตองบังคับใชกฎหมายอยางเครงครัด(มาตรา ๕๓) และบุคคล/
ชุมชนยอมมีสิทธิ(๑)ไดรับทราบและเขาถึงขอมูลหรือขาวสารสาธารณะ(๒)เสนอเรื่องราวรองทุกข (๓)ฟอง
หนวยงานของรัฐ (มาตรา๔๑)ทั้งนี้ รัฐตองเปดเผยขอมูลหรือขาวสารสาธารณะโดยทั่วไปดวย (มาตรา ๕๙)
เพื่อลดปจจัยเสี่ยงดานสุขภาพสําหรับผูบริโภค ในสวนนี้ก็จะมีกฎหมายจํานวนหนึ่งที่บัญญัติขึ้นเพื่อการ
1 คํานิยามจาก ธรรมนูญวาดวยระบบสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ ๒ พ.ศ.๒๕๕๙, สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ, เอกสารถายสําเนา, ๒๕๕๙} หนา ๑๒