Page 8 - ผลการศึกษารัฐธรรมนูญกับธรรมนูญสุขภาพ
P. 8

เพื่อใหประเด็นการปฏิรูปเรื่องนี้ เกิดการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนของระบบบริการทางการแพทยที่เนน

               ความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน มาเปนการแพทยปฐมภูมิทั่วไปที่มีการกลั่นกรองดวยแพทยเวชกรรมครอบครัว
               ซึ่งตองใชเวลาพอสมควรในการหาขอสรุปและปรับเปลี่ยนระบบบริการทางการแพทยดังกลาว

                           ขอเสนอเชิงนโยบายระยะกลาง

                           (๑) เรื่องการจัดทําแผนยุทธศาสตรแหงชาติ  เมื่อกฎหมายวาดวยการจัดทํายุทธศาสตร

               แหงชาติประกาศใช และหาก คสช./สช.สามารถนําสาระเรื่องการจัดทําการประเมินผลกระทบตอสุขภาพ
               ในเชิงหลักการและกระบวนการขั้นตอนโดยเฉพาะ แบบการทําเชิงรุก และแบบการทําเพื่อความยั่งยืน
               ยอมจะทําใหแผนยุทธศาสตรแหงชาติ ระยะ ๒๐ ป ในแตละดานจะไดรับการพิจารณาจากภาคีเครือขาย

               ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ที่สามารถตอบสนองตอเจตนารมณ และเปาหมายหลักของ
               ประเทศไดอยางสมดุลตาม มาตรา ๒๕๗  กลาวคือ เพื่อใหสังคมมีความสงบเรียบรอยมีความสามัคคี

               ปรองดองมีการพัฒนาอยางยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความสมดุลระหวางการพัฒนา
               ดานวัตถุกับการพัฒนาดานจิตใจสังคมเปนธรรมและขจัดความเหลื่อมล้ํา รวมทั้งประชาชนมีความสุขมี
               คุณภาพชีวิตที่ดีและมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี

               พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

                           ดังนั้น ขอเสนอในระยะกลาง จึงเสนอให คสช.โดย สช.ตองมีแผนการสงเสริมสนับสนุนให
               หนวยงานตางๆ ที่อยูภายใตกฎหมายวาดวยการจัดทําแผนยุทธศาสตรแหงชาติ ไดรับการพัฒนาขีด

               ความสามารถในการพัฒนานโยบายและยุทธศาสตรดานสุขภาพเพื่อใหเกิดการดําเนินงานอยางตอเนื่อง
               และมีสวนรวมจากทุกฝาย (มาตรา ๒๕(๔ )) โดยอาจใชกระบวนการ  HIA  แบบทําเพื่อความยั่งยืน เปน
               แนวปฏิบัติ เพื่อใหไดแผนยุทธศาสตรแบบมีสวนรวมและยั่งยืน ในดานที่อยูในความรับผิดชอบของ

               หนวยงานนั้น ทั้งนี้ ตองสนับสนุนใหทุกภาคสวนนําแนวทาง “ทุกนโยบายหวงใยสุขภาพ (Health in  All
               Policies)”ไปใช เพื่อใหเกิดนโยบาย/ยุทธศาสตรที่เอื้อตอการมีสุขภาพที่ดีและไมกอใหเกิดผลกระทบที่เปน

               อันตรายตอสุขภาพในทุกระดับ ซึ่งจะเปนมาตรการหนึ่งในการควบคุมปจจัยทางสังคมที่กําหนดสุขภาพได

                           (๒) เรื่องการคุมครองกลุมที่มีความออนไหวตอปญหาสุขภาพ โดยที่รัฐธรรมนูญฯ(ฉบับที่ผาน
               ประชามติ) และกฎหมายวาดวยสุขภาพแหงชาติ ไดบัญญัติใหรัฐพึงใหความชวยเหลือเด็กเยาวชนสตรี

               ผูสูงอายุคนพิการผูยากไรและผูดอยโอกาสใหสามารถดํารงชีวิตไดอยางมีคุณภาพและอยูในสิ่งแวดลอมที่
               เอื้อตอสุขภาพที่ดี ซึ่งปจจุบันไดมีกฎหมายหลายฉบับใหการคุมครอง ซึ่งบังคับใชโดยสวนราชการตางๆ
               เชน พรบ.คุมครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖ พรบ.คุมครองผูสูงอายุ พ.ศ.๒๕๔๖ พรบ.สงเสริมและพัฒนาคุณภาพ

               ชีวิตคนพิการ พ.ศ.๒๕๕๐ พรบ.คุมครองคนไรที่พึ่ง พ.ศ.๒๕๕๗ โดยกระทรวงพัฒนาสังคมและความ
               มั่นคงของมนุษย พรบ.การปองกันและไขปญหาการตั้งครรภในวัยรุน พ.ศ.๒๕๕๙ พรบ.การสาธารณสุข

               พ.ศ.๒๕๓๕ พรบ.อาหาร พ.ศ.๒๕๒๒ พรบ.โรคติดตอ พ.ศ.๒๕๕๘ โดยกระทรวงสาธารณสุข พรบ.
               คุมครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๕๑ พรบ.กองทุนประกันสังคม พ.ศ.๒๕๓๓ โดยกระทรวงแรงงาน เปนตน

                           ในสวนนี้ ถือวาทุกกระทรวง ทบวง กรม ที่ดูแลกลุมเปาหมายที่มีความออนไหวตอปญหา

               สุขภาพตามกฎหมายตางๆ ยอมเปนภาคีเครือขายพันธมิตร ที่ คสช.พึงตองรวมมือโดยเชิญใหเขารวมใน
               เวทีสมัชชาสุขภาพทั้งในระดับชาติ หรือ เฉพาะประเด็นที่เกี่ยวของ ก็ได ทั้งนี้ใหใชหลักเกณฑ และวิธีการ
               ในกระบวนการประเมินผลกระทบตอสุขภาพ เปนเครื่องมือในการบูรณาการสรางความรวมมือระหวางกัน
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13