Page 6 - ผลการศึกษารัฐธรรมนูญกับธรรมนูญสุขภาพ
P. 6

จัดทํา ควรตองดําเนินการเรื่อง  HIA ทุกกรณีตามหลักการ Health in All Policy โดยใหมีองคคณะใดๆ

               ในพื้นที่เปนผูวินิจฉัย
                              (ข) กําหนดประเภทโครงการ กิจการ ที่อาจมีผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและ
               สุขภาพอยางรุนแรง ที่จําเปนตองทํา  Environment and Health Impact Assessment  (EHIA) สวน

               ประเภทอื่นๆ ใหเปนอํานาจดุลพินิจของคณะบุคคลในระดับพื้นที่
                              (ค) ใหมีการจัดตั้งกองทุนหรือกําหนดแหลงเงินใดๆ ที่จะใชเปนคาใชจายที่จําเปนเพื่อการ

               จัดทํา EHIA ตามประเภทที่กําหนดใน (ข)
                              (ง) กําหนดใหมีศูนยระบบฐานขอมูลที่มีอํานาจเชื่อมโยงกับระบบฐานขอมูลของ
               หนวยงานดานสุขภาพและสิ่งแวดลอมและอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อประโยชนในการเฝาระวังและเปน

               แหลงขอมูลในการประเมินผลกระทบตอสุขภาพได ทั้งนี้ตองใหชุมชนหรือผูที่ไดรับผลกระทบสามารถ
               เขาถึงแหลงขอมูลดังกลาวไดโดยงายดวย

                              (จ) กําหนดใหมีระบบการเยียวยากรณีที่ชุมชนไดรับความเสียหายจากการดําเนินการหรือ
               การอนุญาตของรัฐดวย (เพื่อใหสอดคลองกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๕๘ วรรคสาม)

                           (๒) การตรากฎหมายวาดวยหลักเกณฑและวิธีการจัดทําแผนยุทธศาสตรชาติ ตามมาตรา

               ๖๕ วรรคสองภายใตบทเฉพาะกาลมาตรา ๒๗๕ซึ่งกําหนดใหคณะรัฐมนตรีจัดใหมีกฎหมายใหแลวเสร็จ
               ภายใน ๑๒๐ วันนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญฯและใหดําเนินการ จัดทํายุทธศาสตรชาติใหแลวเสร็จ
               ภายใน ๑ ปนับแตวันที่กฎหมายดังกลาวใชบังคับโดยในขั้นตอนการจัดทําการกําหนดเปาหมายระยะเวลา

               ที่จะบรรลุเปาหมายและสาระที่พึงมีในยุทธศาสตรชาติใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการ ที่กฎหมาย
               บัญญัติทั้งนี้กฎหมายดังกลาวตองมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการ มีสวนรวมและการรับฟงความคิดเห็นของ

               ประชาชนทุกภาคสวนอยางทั่วถึงดวย

                           ในเรื่องนี้ เห็นวาคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ(คสช.) ในฐานะคณะกรรมการที่มีอํานาจ
               หนาที่ตามมาตรา ๒๕ คือ (๑)จัดทําธรรมนูญสุขภาพแหงชาติเพื่อเสนอใหคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบ
               และ (๒)เสนอแนะหรือใหคําปรึกษาตอคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตรดานสุขภาพและ

               ติดตามผลการดําเนินงานดวย จึงควรใชโอกาสเรงดวนตามที่รัฐธรรมนูญกําหนดไว เสนอแนะตอ
               คณะรัฐมนตรีในการจัดทําบทบัญญัติของกฎหมายวาดวยการจัดทําแผนยุทธศาสรแหงชาตินี้ ในเรื่อง

               ตอไปนี้
                              (ก) เสนอแนะเรื่องหลักเกณฑ วิธีการจัดการรับฟงความคิดเห็นและการสรางการมีสวน
               รวมจากทุกภาคสวนอยางไร ใหมีประสิทธิภาพ แกคณะผูยกรางกฎหมายนั้น

                              (ข) กระบวนการจัดทําแผนยุทธศาสตรแหงชาติในดานระบบสุขภาพ จะตองมี
               ความสัมพันธกับกระบวนการจัดสมัชชาสุขภาพแหงชาติ สมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่/ประเด็น คือตอง

               นําเอาผล/ขอสรุปจากสมัชชาตางๆ ไปเปนสวนหนึ่งหรือไปประกอบในการพิจารณาจัดทําแผนยุทธศาสตร
               ดานสุขภาพตามประเด็นและพื้นที่ที่เกี่ยวของดวย

                              (ค) การเชื่อมโยงสารัตถะของแผนยุทธศาสตรแหงชาติ กับ สารัตถะในธรรมนูญวาดวย
               ระบบสุขภาพแหงชาติ ซึ่งตองมีการทบทวนทุก ๕ ปเชนกัน ควรจะตองกําหนดใหมีความสัมพันธ
               สอดคลองตองกัน เชน เสนอใหธรรมนูญวาดวยระบบสุขภาพแหงชาติเปนสารัตถะของแผนยุทธศาสตร

               แหงชาติดานสุขภาพ ทั้งนี้ เพราะเมื่อธรรมนูญวาดวยระบบสุขภาพแหงชาติ หรือยุทธศาสตรที่ คสช.เสนอ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11