Page 3 - ผลการศึกษารัฐธรรมนูญกับธรรมนูญสุขภาพ
P. 3

(๒) สาระแหงสิทธิดานสุขภาพโดยตรง ที่รัฐธรรมนูญไดบัญญัติรับรองและคุมครองไว ใน

               หมวด ๓ หมวด ๕ หมวด ๖ และหมวด ๑๖ ประกอบดวย ๑.๑)  สิทธิพื้นฐานดานสุขภาพ  ตามมาตรา
               ๔๗ และมาตรา ๕๕ ที่ระบุวา“บุคคลยอมมีสิทธิไดรับบริการสาธารณสุขของรัฐ”ที่ครอบคลุมการสงเสริม
               สุขภาพการควบคุมและปองกันโรคการรักษาพยาบาลและการฟนฟูสุขภาพดวย โดยผูยากไรไมตองเสีย

               คาใชจาย และเนนใหรัฐตองใหความสําคัญกับการใหความรูพื้นฐานเพื่อการสงเสริมสุขภาพและปองกัน
               โรคเสริมภูมิปญญาการแพทยแผนไทยมากขึ้น ซึ่งสะทอนถึงแนวนโยบายเรื่อง“สรางนําซอม” สวนกรณี

               เกิดโรคติดตออันตรายใหเปนหนาที่ของรัฐโดยตรง  ๑.๒)  สิทธิดานสุขภาพที่ตองการใหปฏิรูป  มาตรา
               ๒๕๘ ขอ ช.(๔) (๕) เนนใน ๒ เรื่องคือ เรื่องการสรางระบบหลักประกันสุขภาพใหมีประสิทธิภาพ สะดวก
               ทัดเทียมกัน และเรื่องการใหมีระบบการแพทยปฐมภูมิที่มีแพทยเวชศาสตรครอบครัวดูแลประชาชนใน

               สัดสวนที่เหมาะสม ทั้งนี้มาตรา ๒๕๙ ใหตรากฎหมายวาดวยแผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศ ภายใน
               ๑๒๐ วันนับแตรัฐธรรมนูญประกาศใช  ๑.๓)  สิทธิดานสุขภาพสําหรับกลุมออนไหว มาตรา ๔๘  จะ

               คุมครองมารดาในชวงระหวางกอนและหลังการคลอดบุตร และบุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปและไมมีรายได
               เพียงพอแกการยังชีพมาตรา ๗๑ วรรคสาม คุมครองสิทธิของกลุมผูออนไหวตอปญหาดานสุขภาพ หญิงมี
               ครรภ เด็กเยาวชนสตรีผูสูงอายุคนพิการผูยากไรและผูดอยโอกาส พรอมกําหนดใหรัฐพึงตองมี

               แนวนโยบายแหงรัฐในการดูแลใหสามารถดํารงชีวิตไดอยางมีคุณภาพ มิใหตองถูกใชความรุนแรงหรือถูก
               ปฏิบัติอยางไมเปนธรรม รวมทั้งการฟนฟูและเยียวยาอยางเหมาะสมดวย๑.๔)  สิทธิดานการสรางเสริม

               สุขภาพและปองกันโรค  เปนการคุมครองสุขภาพโดยการควบคุมปจจัยที่คุกคามตอสุขภาพ โดย มาตรา
               ๕๘ ไดกําหนดมาตรการประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพชุมชน กรณีการดําเนินการ
               ใดของรัฐหรือที่รัฐจะอนุญาตใหผูใดดําเนินการที่อาจมีผลกระทบตอทรัพยากร ธรรมชาติคุณภาพ

               สิ่งแวดลอมสุขภาพอนามัยคุณภาพชีวิตของชุมชนอยางรุนแรง และบุคคล ชุมชนมีสิทธิไดรับขอมูล  คํา
               ชี้แจงและเหตุผลจากหนวยงานของรัฐกอนการดําเนินการหรืออนุญาตและตองดําเนินการใหมีการเยียวยา

               ความเดือดรอนหรือเสียหายใหแกประชาชนหรือชุมชนที่ไดรับผลกระทบอยางเปนธรรมและโดยไมชักชา
               ๑.๕) สิทธิในการคุมครองผูบริโภค  มาตรา ๔๖ ไดใหสิทธิในการรวมกันจัดตั้งเปนองคกรที่มีความ เปน
               อิสระเพื่อใหเกิดพลังในการคุมครองและพิทักษสิทธิของผูบริโภคโดยใหไดรับการ สนับสนุนจากรัฐ ทั้งนี้

               ตามที่กฎหมายบัญญัติ และเพื่อใหสามารถลดปจจัยเสี่ยงดานสุขภาพสําหรับผูบริโภคไดอยาเปนจริง
               มาตรา ๕๓ จึงกําหนดใหรัฐตองบังคับใชกฎหมายอยางเครงครัด และ มาตรา ๔๑ กําหนดใหบุคคลและ

               ชุมชนยอมมีสิทธิ(๑)ไดรับทราบและเขาถึงขอมูลหรือขาวสารสาธารณะ(๒)เสนอเรื่องราวรองทุกข (๓)ฟอง
               หนวยงานของรัฐได ทั้งนี้ มาตรา ๕๙ ใหรัฐตองเปดเผยขอมูลหรือขาวสารสาธารณะโดยทั่วไปดวย

                           (๓) บทเฉพาะกาลที่รัฐธรรมนูญฯกําหนด  โดยมาตรา ๒๗๘  ไดกําหนดใหคณะรัฐมนตรี

               ดําเนินการใหหนวยงานของรัฐจัดทํารางกฎหมายตามมาตรา๕๘เรื่อง“ระบบการประเมินผลกระทบดาน
               สิ่งแวดลอมและสุขภาพ”ตองใหแลวเสร็จภายใน ๒๔๐ วันนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้และ มาตรา
               ๒๗๕กําหนดใหคณะรัฐมนตรีจัดใหมีกฎหมายตามมาตรา๖๕วรรคสอง คือ “กฎหมายวาดวยการจัดทํา

               แผนยุทธศาสตรชาติ”ซึ่งตองใหแลวเสร็จภายใน ๑๒๐ วันนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ประกอบกับ
               มาตรา ๒๕๙ กําหนดใหรัฐตองตรากฎหมายวาดวย การกําหนดแผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศ ให

               แลวเสร็จภายใน ๑๒๐ วันเชนกัน จึงถือวาเปนกฎหมายสําคัญที่รัฐธรรมนูญเรรงรัดใหดําเนินการใหแลว
               เสร็จโดยเร็ว
   1   2   3   4   5   6   7   8