Page 2 - ผลการศึกษารัฐธรรมนูญกับธรรมนูญสุขภาพ
P. 2

เมื่อรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช .... ไดรับความเห็นชอบจาก

               ประชาชนโดยการลงประชามติแลว ซึ่งจะตองมีการประกาศใชตอไปในเร็ววันนี้ จึงสงผลใหทุกฝาย ทุก
               หนวยงานของรัฐและสวนราชการตองเตรียมการรองรับบทบัญญัติรัฐธรรมนูญฯดังกลาว เพื่อใหประชาชน
               ไดรับผลประโยชนสูงสุดตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญไดโดยเร็ว รายงานการศึกษาฉบับนี้ จึงเปนสวน

               หนึ่งของการเตรียมการของสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติเพื่อรองรับบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ
               แหงราชการอาณาจักร พุทธศักราช ... ตามพันธกิจและอํานาจหนาที่ขององคกร สช.ไดอยางมี

               ประสิทธิภาพ

                           สิ่งที่ดําเนินการ

                           การศึกษาครั้งนี้ เปนการวิเคราะหสาระของบทบัญญัติรัฐธรรมนูญฯ(ฉบับที่ผานประชามติ)ใน
               สวนที่เกี่ยวของกับระบบสุขภาพโดยตรง อันไดแก  หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย หมวด

               ๕ หนาที่ของรัฐ หมวด ๖ แนวนโยบายแหงรัฐ และหมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ รวมทั้งบทเฉพาะกาล
               แลวจึงวิเคราะหบทบาทพันธกิจและอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ (คสช.) สํานักงาน
               คณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ (สช.) ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๐ เพื่อใหไดขอเสนอ

               เชิงนโยบายตอ คสช.และ สช. เพื่อใหสามารถปฏิบัติการรองรับรัฐธรรมนูญฯ(ฉบับที่ผานประชามติ)ที่
               สอดคลองกับเจตนามรณของรัฐธรรมนูญและกฎหมายวาดวยสุขภาพแหงชาติ


                           ผลการศึกษา พบวา
                           (๑) บทบัญญัติรัฐธรรมนูญฯ (ฉบับที่ผานประชามติ) หมวดทั่วไป ไดวางหลักการคุมครอง

               สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทยไว โดย มาตรา ๔ บัญญัติวา“ศักดิ์ศรีความเปนมนุษยสิทธิเสรีภาพและความ
               เสมอภาคของบุคคลยอมไดรับความคุมครอง”และ“ปวงชนชาวไทยยอมไดรับความคุมครองตาม

               รัฐธรรมนูญเสมอกัน” อีกทั้งมาตรา ๒๗ในหมวด ๓ ยังไดย้ําวา“บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายมีสิทธิและ
               เสรีภาพและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน”และ“การเลือกปฏิบัติที่ไมเปนธรรมตอบุคคล
               ...จะกระทํามิได”แต“มาตรการที่รัฐกําหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือสงเสริมใหบุคคลสามารถใชสิทธิหรือ

               เสรีภาพไดเชนเดียวกับบุคคลอื่นหรือเพื่อคุมครอง หรืออํานวยความสะดวกใหแกเด็กสตรีผูสูงอายุคน
               พิการหรือผูดอยโอกาสยอมไมถือวาเปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรม...” นอกจากนี้ หมวด ๓ ยังเปน

               บทบัญญัติที่กําหนดสาระแหงสิทธิเสรีภาพของประชาชนในดานตางๆ ที่รัฐธรรมนูญประสงคจะคุมครอง
               ซึ่งครอบคลุมทั้งสิทธิในศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษยและสิทธิพลเมือง ซึ่งประชาชนจะเปนผูทรงสิทธิ
               โดยตรง สวนหมวด ๕ เปนบทบัญญัติใหรัฐ(หนวยงานของรัฐ:ฝายบริหาร)ตองและจะตองปฏิบัติหนาที่อัน

               สําคัญที่รองรับสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของประชาชนในเรื่องตางๆ โดยมี หมวด ๖ เปนกรอบแนวทางหรือ
               แนวนโยบายแหงรัฐที่รัฐบาลจะพึงนําไปกําหนดเปนนโยบายเสนอตอรัฐสภาหรือประชาชนได สวน หมวด

               ๑๖ เปนการกําหนดสารัตถะของการปฏิรูปประเทศที่สอดคลองกับความตองการและเจตนารมณของมวล
               มหาประชาชนที่ออกมาเรียกรองใหมีการปฏิรูปประเทศ บทบัญญัติทั้ง ๔ หมวดนี้ จึงเชื่อมโยงเกี่ยว
               เนื่องกัน สวนบทเฉพาะกาลไดกําหนดเรื่องเรงดวนที่ตองดําเนินการในชวงเปลี่ยนผานกอนที่รัฐบาลใหม

               จะเขาปฏิบัติหนาที่โดยเฉพาะการตรากฎหมายที่สําคัญๆ
   1   2   3   4   5   6   7