Page 10 - ผลการศึกษารัฐธรรมนูญกับธรรมนูญสุขภาพ
P. 10
คุมครองผูบริโภคโดยตรง เชน พรบ.คุมครองผูบริโภค พ.ศ.๒๕๒๒ โดยสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
พรบ.วิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ.๒๕๕๑โดยศาลฎีกา พรบ.อาหาร ๒๕๒๒ พรบ.เครื่องสําอาง พ.ศ.
๒๕๓๕ พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕ โดยกระทรวงสาธารณสุข เปนตน
ดวยลักษณะของปญหาเรื่องการคุมครองผูบริโภค จะตองอาศัยการรวมกลุมและ
ขอมูลทางวิชาการเพื่อเรียกรองและเสนอความเห็นตอหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ ดังนั้น คสช.โดย สช.
ควรมีแผนการสนับสนุนใหมีการจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็น กับองคกรผูบริโภคดานตางๆ โดยใช
เครื่องมือ HIA แบบเมื่อมีการรองเรียน และแบบเมื่อมีการดําเนินการไปแลว มาเปนแนวทางการประสาน
ความรวมมือระหวางองคกรคุมครองผูบริโภคกับหนวยงานของรัฐที่มีอํานาจหนาที่ในการควบคุม/กํากับ
ผลิตภัณฑหรือบริการที่ไมมีคุณภาพหรือเอาเปรียบผูบริโภค
***********************
รายงานผลการศึกษา
บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ(ฉบับที่ผานประชามติ) กับ การุคมครองสุขภาพประชาชน
เชื่อมโยงกับธรรมนูญวาดวยระบบสุขภาพแหงชาติ (ฉบับที่ ๒)
และ พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๐
ความนํา
สืบเนื่องจากสถานการณบานเมืองที่มีความขัดแยงทางการเมืองกอใหเกิดปญหาความไมสงบ
มีการเดินขบวนและชุมชนประทวง จนรัฐบาลไมสามารถปฏบัติหนาที่ไดโดยชอบธรรม เกิดความวุนวาย
มากมายในสังคม จน “....ในที่สุดคณะรักษาความสงบแหงชาติจึงจําเปนตองเขายึดและควบคุมอํานาจการ
ปกครองประเทศเมื่อวันที่๒๒พฤษภาคม๒๕๕๗และประกาศใหรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช๒๕๕๐สิ้นสุดลงยกเวนความในหมวด๒พระมหากษัตริยโดยไดกําหนดแนวทางการแกปญหาไว
สามระยะคือระยะเฉพาะหนาเปนการใชอํานาจสกัดการใชกําลังและการนําอาวุธมาใชคุกคามประชาชน
ยุติความหวาดระแวงและแกปญหาเศรษฐกิจสังคมและการเมืองการปกครองที่สะสมมากวาหกเดือนให
คลี่คลายลงเพื่อเตรียมเขาสูระยะที่สองซึ่งจะจัดใหมีรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวจัดตั้งสภาขึ้นทําหนาที่ในทาง
นิติบัญญัติและใหมีคณะรัฐบาลบริหารราชการแผนดินแกไขสถานการณอันวิกฤติใหกลับคืนสูสภาวะปกติ
ฟนฟูความสงบเรียบรอยความรูรักสามัคคีและความเปนธรรมแกปญหาเศรษฐกิจสังคมการเมืองการ
ปกครองจัดใหมีกฎหมายที่จําเปนเรงดวนจัดตั้งสภาปฏิรูปแหงชาติและองคกรตางๆเพื่อใหมีการปฏิรูปใน